“…ข้าพเจ้ามีโอกาสได้ศึกษาและทดลองทำนามาบ้าง และทราบดีว่าการทำนานั้นมีความยากลำบากเป็นอุปสรรคอยู่มิใช่น้อย จำเป็นจะต้องอาศัยพันธุ์ข้าวที่ดี และต้องใช้วิชาการต่าง ๆ ด้วย จึงจะได้ผลเป็นล่ำเป็นสัน อีกประการหนึ่ง ที่นานั้น เมื่อสิ้นฤดูทำนาแล้ว ควรจะปลูกพืชอื่น ๆ บ้าง เพราะจะเพิ่มรายได้ให้อีกไม่น้อย ทั้งจะช่วยให้ดินร่วน ช่วยเพิ่มปุ๋ยกากพืช ทำให้ลักษณะเนื้อดินดีขึ้น เหมาะสำหรับจะทำนาในฤดูต่อไป…”

พระราชดำรัส พระราชทานแก่ผู้นำกลุ่มชาวนา ในวันเปิดการชุมนุมผู้นำกลุ่มชาวนาทั่วประเทศ ครั้งที่ 3 วันศุกร์ ที่ 19 มีนาคม 2508

“เริ่มก่อตั้งโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิบริสุทธิ์”

คุณภาพที่ดีของข้าวหอมมะลิ ต้องเริ่มต้นจากเมล็ดพันธุ์ที่บริสุทธิ์ เราจึงดำเนินโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์
ตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นมา มีแปลงนาที่อยู่ในโครงการจำนวน 2,000 ไร่ ที่จังหวัดอุบลราชธานี และอำนาจเจริญ
โดยมีหน่วยงานราชการร่วมให้ความรู้ในการดูแลแปลงนาเมล็ดพันธุ์ ปรับปรุงคุณภาพให้ดียิ่งขึ้นทุกปี และบริษัทฯ
ส่งตัวอย่างเมล็ดพันธุ์เพื่อตรวจวิเคราะห์คุณภาพที่ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุบลราชธานี กรมการข้าว ซึ่งผลการตรวจอัตรา
เมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์สูงสุดที่ทำได้คือ 99.7 และเมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์นี้ชาวนาได้นำไปใช้เพาะปลูก
ในโครงการหงษ์ทองนาหยอดต่อไป

“เริ่มก่อตั้งโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิบริสุทธิ์”

คุณภาพที่ดีของข้าวหอมมะลิ ต้องเริ่มต้นจากเมล็ดพันธุ์ที่บริสุทธิ์ เราจึงดำเนินโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์ ตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นมา มีแปลงนาที่อยู่ในโครงการจำนวน 2,000 ไร่ ที่จังหวัดอุบลราชธานี และอำนาจเจริญ โดยมีหน่วยงานราชการร่วมให้ความรู้ในการดูแลแปลงนาเมล็ดพันธุ์ ปรับปรุงคุณภาพให้ดียิ่งขึ้นทุกปี และบริษัทฯ ส่งตัวอย่างเมล็ดพันธุ์เพื่อตรวจวิเคราะห์คุณภาพที่ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวอุบลราชธานี กรมการข้าว ซึ่งผลการตรวจอัตรา เมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์สูงสุดที่ทำได้คือ 99.7 และเมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์นี้ชาวนาได้นำไปใช้เพาะปลูก ในโครงการหงษ์ทองนาหยอดต่อไป

โครงการนาหยอด

“รักษาศักยภาพข้าวหอมมะลิไทย”

พุทธศักราช 2552
ปฎิบัติการคืนข้าวหอมพันธุ์บริสุทธิ์ในเมืองไทย

พุทธศักราช 2557
ปฎิบัติการคืนข้าวหอมพันธุ์บริสุทธิ์ในเมืองไทยได้สำเร็จ

“เริ่มดำเนินการโครงการ”

เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ยังคง มีอาชีพทำนา แต่ก็ยังยากจน ปัญหาใหญ่ที่ผ่านมา
ของเกษตรกร ไม่ได้อยู่ที่ทำนาไม่เป็น แต่อยู่ที่ ต้นทุนสูง ได้ผลผลิตต่ำ

“โครงการหงษ์ทองนาหยอด” มีวัตถุประสงค์เพื่อ รักษาพันธุ์ข้าวหอมมะลิและช่วยเหลือ
เกษตรกรในการลดต้นทุนการทำนา พยายามหาวิธีการเพื่อตอบโจทย์ด้วยการทดลองการ
ทำนาหลากหลายวิธี จนในที่สุด พบว่า การทำนาหยอดแบบแห้ง เป็นวิธีการที่เหมาะสม
ที่สุดกับพื้นที่ภาคอีสานที่ปลูกข้าวหอมมะลิ ใช้เมล็ดพันธุ์น้อยเพียง 10 กิโลกรัมต่อไร่
จากอดีตเกษตรกรจะทำนาหว่าน ใช้เมล็ดพันธุ์ 25-35 กิโลกรัมต่อไร่ และเสียค่ายา
ค่าปุ๋ยมาก ทำให้ต้นทุนการปลูกข้าวสูง

สิ่งสำคัญในการทำการเกษตรคือ “ดิน”

ดินก็สำคัญ ต้องตรวจดิน ก่อนการเตรียมแปลง ต้องมีการตรวจค่าสารอาหารในดิน
เพื่อจะได้รู้ว่าดินต้องการปุ๋ยแบบไหน ต้องการฟื้นฟูสภาพดินอย่างไร ทำให้ใส่ปุ๋ย
ตามสภาพไม่มากเกินไปจึงช่วยลดต้นทุนผลิตได้

“เริ่มดำเนินการโครงการ”

เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ยังคง มีอาชีพทำนา แต่ก็ยังยากจน ปัญหาใหญ่ที่ผ่านมา ของเกษตรกร ไม่ได้อยู่ที่ทำนาไม่เป็น แต่อยู่ที่ ต้นทุนสูง ได้ผลผลิตต่ำ

“โครงการหงษ์ทองนาหยอด” มีวัตถุประสงค์เพื่อ รักษาพันธุ์ข้าวหอมมะลิและช่วยเหลือ เกษตรกรในการลดต้นทุนการทำนา พยายามหาวิธีการเพื่อตอบโจทย์ด้วยการทดลองการ ทำนาหลากหลายวิธี จนในที่สุด พบว่า การทำนาหยอดแบบแห้ง เป็นวิธีการที่เหมาะสม ที่สุดกับพื้นที่ภาคอีสานที่ปลูกข้าวหอมมะลิ ใช้เมล็ดพันธุ์น้อยเพียง 10 กิโลกรัมต่อไร่ จากอดีตเกษตรกรจะทำนาหว่าน ใช้เมล็ดพันธุ์ 25-35 กิโลกรัมต่อไร่ และเสียค่ายา ค่าปุ๋ยมาก ทำให้ต้นทุนการปลูกข้าวสูง

สิ่งสำคัญในการทำการเกษตรคือ “ดิน”

ดินก็สำคัญ ต้องตรวจดิน ก่อนการเตรียมแปลง ต้องมีการตรวจค่าสารอาหารในดิน เพื่อจะได้รู้ว่าดินต้องการปุ๋ยแบบไหน ต้องการฟื้นฟูสภาพดินอย่างไร ทำให้ใส่ปุ๋ย ตามสภาพไม่มากเกินไปจึงช่วยลดต้นทุนผลิตได้

“เริ่มเห็นผลการดำเนินงาน”

การปลูกข้าวนาหยอด ช่วยให้เมล็ดพันธุ์ มีอัตราการงอกที่ดี ข้าวที่ฝังในดินไม่ถูกทำลาย
ด้วยสัตว์และแมลง เมื่อฝนตกจะมีอัตราการงอกสูง นาหยอดจะใช้หลักการเดียวกับนาดำ
ผลผลิตที่ได้จะขึ้นเรียงกัน เป็นแถวเป็นแนว สามารถบริหารจัดการวัชพืชได้ง่าย สามารถ
มองเห็นต้นข้าวและคำนวณการ ให้ปุ๋ยได้อย่างชัดเจน ต้นข้าวแตกกอได้ดีเพราะไม่แน่น
จนเกินไป ปริมาณข้าวออกรวงสูงและเมล็ดสวยงาม

“เริ่มเห็นผลการดำเนินงาน”

การปลูกข้าวนาหยอด ช่วยให้เมล็ดพันธุ์ มีอัตราการงอกที่ดี ข้าวที่ฝังในดินไม่ถูกทำลาย ด้วยสัตว์และแมลง เมื่อฝนตกจะมีอัตราการงอกสูง นาหยอดจะใช้หลักการเดียวกับนาดำ ผลผลิตที่ได้จะขึ้นเรียงกัน เป็นแถวเป็นแนว สามารถบริหารจัดการวัชพืชได้ง่าย สามารถ มองเห็นต้นข้าวและคำนวณการ ให้ปุ๋ยได้อย่างชัดเจน ต้นข้าวแตกกอได้ดีเพราะไม่แน่น จนเกินไป ปริมาณข้าวออกรวงสูงและเมล็ดสวยงาม

“ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ”

โครงการหงษ์ทองนาหยอด จับมือกับองค์การบริหารส่วนตำบลซึ่งเป็นผู้นำในท้องที่ เข้าให้ความรู้
เกี่ยวกับแนวทางการทำนาหยอด ซึ่งเป็นแนวทางที่จะมาแก้ไขปัญหา ให้กับเกษตรกร
เมื่อเกษตรกรลงมือทำแล้วเห็นผลลัพธ์ที่ดี ก็สามารถพึ่งพาตนเองได้

โครงการประชารัฐของทางรัฐบาลเล็งเห็นแล้วว่า โครงการไปได้ด้วยดี เป็นโมเดลที่สามารถ
ตอบโจทย์ทุกปัญหาของชาวนาได้อย่างชัดเจน ทำให้โครงการหงษ์ทองนาหยอดได้เข้าเป็นส่วนหนึ่ง
ของโครงการนาแปลงใหญ่ประชารัฐเกษตรกรสมัยใหม่ที่เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้อย่างแท้จริง

“ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ”

โครงการหงษ์ทองนาหยอด จับมือกับองค์การบริหารส่วนตำบลซึ่งเป็นผู้นำในท้องที่ เข้าให้ความรู้ เกี่ยวกับแนวทางการทำนาหยอด ซึ่งเป็นแนวทางที่จะมาแก้ไขปัญหา ให้กับเกษตรกร เมื่อเกษตรกรลงมือทำแล้วเห็นผลลัพธ์ที่ดี ก็สามารถพึ่งพาตนเองได้

โครงการประชารัฐของทางรัฐบาลเล็งเห็นแล้วว่า โครงการไปได้ด้วยดี เป็นโมเดลที่สามารถ ตอบโจทย์ทุกปัญหาของชาวนาได้อย่างชัดเจน ทำให้โครงการหงษ์ทองนาหยอดได้เข้าเป็นส่วนหนึ่ง ของโครงการนาแปลงใหญ่ประชารัฐเกษตรกรสมัยใหม่ที่เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้อย่างแท้จริง

“การปลูกพืชหลังการเก็บเกี่ยว”

เนื่องจากเกษตรกรที่ปลูกข้าวหอมมะลิ หนึ่งปีสามารถทำนาได้เพียงครั้งเดียวดังนั้น
ในช่วงนอกฤดูการทำนาจึงต้องเพิ่มรายได้ให้กับชาวนาด้วยการส่งเสริมให้ปลูกพืชที่เป็นที่ต้องการ
ของตลาด โดยเราจัดหาเมล็ดพันธุ์ วิธีการ รวมถึงตลาดรับซื้อให้กับเกษตรกร เช่น ปลูกแตงโม
ฟักทอง ถั่วเขียว ถั่วเหลืองเป็นต้น

“การปลูกพืชหลังการเก็บเกี่ยว”

เนื่องจากเกษตรกรที่ปลูกข้าวหอมมะลิ หนึ่งปีสามารถทำนาได้เพียงครั้งเดียวดังนั้น ในช่วงนอกฤดูการทำนาจึงต้องเพิ่มรายได้ให้กับชาวนาด้วยการส่งเสริมให้ปลูกพืชที่เป็นที่ต้องการ ของตลาด โดยเราจัดหาเมล็ดพันธุ์ วิธีการ รวมถึงตลาดรับซื้อให้กับเกษตรกร เช่น ปลูกแตงโม ฟักทอง ถั่วเขียว ถั่วเหลืองเป็นต้น

“สรุปผลการดำเนินงานโครงการหงษ์ทองนาหยอด”

ด้วยแนวทางการดำเนินงาน ใช้แนวทางตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ทรงวางรากฐานการพัฒนาประเทศอยู่บนพื้นฐานของการพึ่งตนเอง ให้ประชาชนยืนด้วยขาตัวเองได้ย่อมจะยั่งยืนถาวร ในฤดูการปลูกปี 59/60 มีเกษตรกรร่วมโครงการเพิ่มเป็น 10,000 ไร่ ในจังหวัดศรีษะเกษ และอุบลราชธานี หงษ์ทองสนับสนุนสินเชื่อเมล็ดพันธ์ุ ปุ๋ย และปัจจัยการผลิตต่างๆ ด้วยจำนวนเงิน 14 ล้านบาท ช่วยให้ชาวนาสามารถลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต และเพิ่มคุณภาพข้าวได้ ชาวนาไทยจะห่างไกลจากความยากจนอย่างแท้จริง

“เราจะรักษาพันธ์ุข้าวหอมมะลิไทย

ให้คงอยู่คู่ลูกหลานไทย และสืบทอดการทำนา
มรดกของบรรพบุรุษให้อยู่คู่แผ่นดินไทยสืบต่อไป”

-ข้าวหงษ์ทอง-